การศึกษาและถ่ายทอดองค์ความรู้
            การถ่ายทอดองค์ความรู้เป็นกิจภรรมที่เน้นเรื่องของการต่อยอดองค์ความรู้และพัฒนาไปสู่ความยั่งยืนจากชุมชนหนึ่งไปยังอีกชุมชนหนึ่ง อีกทังการปลุกฝังจิตสำนึกรักและหวงแหนทรัพยาภรธรรมชาติที่ชุมชนมีอยู่ให้ภับกลุ่มเด็กและเยาวชนในท้องที่ โดยภารสนับสนุนเด็กและเยาวชนในการจัดตั้งกลุ่มเยาวชนรักษ์ป่าขึ้น เป็นการต่อยอดองค์ความรู้จากรุ่นสู่รุ่นและนำไปสู่ความยั่งยืน
 

เปิดให้ทัศนศึกษาดูงาน

            เพื่อช่วยเพิ่มพูลความรู้ ทักษะ และประสบภารณ์ให้กับบุคลาภร อีกทั้ง ยังเป็นการเปิดโลกทัศน์การเรียนรู้ในสิ่งใหม่ๆ ให้แก่ชุมชน การศึกษา ดุงานนั้นมีประโยชน์อย่างมาก ทั้งในด้านการสร้างความรู้ความเข้าใจความคิด ความสัมพันธ์การทำงานเป็นทีม ฯลฯ และยังช่วยกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ร่วมกัน การแลกเปลี่ยนประสบภารณ์มุมมองความคิดเห็น ต่างๆ ร่วมกันบนสถานการณ์เดียวกัน ทำให้ได้เห็นถึงเทคนิควิธีการในการนำมาปรับใช้หรือการแก้ไขปัญหา อันจะก่อให้เกิดประโยชน์ในการทำงาน
 

การฝึกอบรม/จัดอบรม

           การถ่ายทอดความรู้เพื่อเพิ่มพุนทักษะ ความชำนาญ ความสามารถ และทัศนคติในทางที่ถูกที่ควร เพื่อช่วยให้การปฏิบัติงานและภาระหน้าที่ต่างๆ ในปัจจุบันและอนาคตเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้นและไม่ว่าการฝึกอบรมจะมีขึ้นที่ใดก็ตามวัตถุประสงค์ก็คือเป็นการเพิ่มขืดความสามารถในการปฏิบัติงานหรือเพิ่มขืดความสามารถในภารจัดรุปขององค์การ
 

กลุ่มเยาวชนุรักษ์ป่า

           เพื่อสร้างความต่อเนื่องภารอนุรักษ์ป่าในท้องที่เกิดภารถ่ายทอดเจตนารมณ์จากรุ่นสุรุ่น ปลุกฝัง และสร้างจิตสำนึกรักและหวงแหนทรัพยากรอันมีค่าในท้องถิ่นของตนให้แก่เด็กและเยาวชน นำไปสุภารสร้างพลังในการขับเคลื่อนให้อุดมการณ์ในการดุแลรักษาและพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่นให้มีความยั่งยืนสืบทอดต่อไป
 

ป้ายชื่อพันธุ์ไม้ / ป้ายสื่อความหมาย

           เป็นการสื่อความหมายธรรมชาติอีกประเภท จัดทำขึ้นเพื่อให้ความรู้แก่นักท่องเที่ยว ส่วนใหญ่จะพบเห็นได้จุดที่น่าสนใจต่างๆ เช้น จุดชมวิว จุดดุนภ โดยเฉพาะบริเวณเส้นทางศึกษาธรรมชาติระหว่างเส้นทางจะมีป้ายสื่อความหมายเป็นช่วงๆ เพื่อดิงดุดความสนใจของนักท่องเที่ยวได้แวะพัก และได้ชื่นชมความเป็นธรรมชาติ หรือระบบนิเวศบริเวณนั้นๆ
 

ดำเนินงานเส้นทางศึกษาธรรมชาติ

            เป็นอีกช่องทางหนึ่งของการศึกษาธรรมชาติ โดยมีเป้าหมายให้ป่าชุมชนเป็นห้องเรียนทางธรรมชาติ เพื่อภารศึกษาเรียนรู้ระบบนิเวศอย่างไม่มีที่สินสุด โดยให้ทุกภาคส่วนของชุมชนมีส่วนร่วมในภารคิดและลงมือสร้างเส้นทางเดินศึกษาในป่าธรรมชาติ
 

การบวชป่า

           เป็นการใช้มิติทางวัฒนธรรมเข้ามาเชื่อมโยงกับกระบวนการทาง สังคมและนิเวศวิทยา โดยที่ "ผ้าเหลือง" เป็นสัญลักษณ์ของคุณค่า สุงถึงพระรัตนตรัยอันมีพระพุทธเจ้าเป็นประธานพระรัตนตรัยนั้นเป็นสิ่งที่ชาวพุทธถือว่าทรงคุณค่าสูงสุด เพื่อเตือนสติให้ผู้คนรู้ตัวสามารถโยงใยเรื่องต้นไม้กับคุณค่าสูงสุดนี้ได้ นอกจากการบวชป่า ยังมีกิจภรรมการเลี้ยงผีขุนน้ำ และการสร้างศาลเจ้าที่อีกด้วย
 

การถ่ายทอดความรู้จากผู้รู้/ปราชญ์ชาวบ้าน

          การนำภูมิปัญญามาใช้ประโยชน์ในการดำรงชีวิตจนประสบผลสำเร็จสามารถถ่ายทอดเชื่อมโยงคุณค่าของอดีตกับปัจจุบันได้อย่างเหมาะสม เพื่อรวบรวมองค์ความรู้ที่มียู่ในท้องถิ่นทั้งภูมิปัญญาชาวบ้านจากปราชญ์ชาวบ้านนำไปสู่การถ่ายทอดองค์ความรู้ดังกล่าวสู่ชุมชน เยาวชน รุ่นลูกหลานทั้งภายในชุมชนและชุมชนรอบข้างได้เข้ามา

ศึกษาเรียนรู้

จัดตั้งองค์กรป่าชุมชน

          เพื่อเป็นตัวแทนในการประสานงานระหว่างชุมชนในท้องที่รับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง นอกจากนี้ยังมีการจัดตั้งกลุ่มอาสาสมัคร พิทักษ์ป่า เพื่อใช้ในการดำเนินภิจภรรมของกลุ่ม อีกทั้งการจัดประชุมคณะกรรมการป่าชุมชนและราษฎร เพื่อชี้แจงการดำเนินงาน ป่าชุมชนได้รับทราบและเข้าใจในกระบวนการทำงานและร่วมมือกันในการบริหารจัดการป่าอย่างมีส่วนร่วมของคนในชุมชนสืบต่อไป
 

จัดทำแบบจำลองทางภูมิศาสตร์

          เป็นรูปจำลองภูมิประเทศที่สร้างขึ้นมาจากแผนที่ (แผนที่ที่แสดงความสูง-ต่ำ) ของภุมิประเทศ (TOPOGRAPHIC MAP) เพื่อให้ชุมชนเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อม ดิน น้ำ ป่าไม้ กับภารดำรงชีพของประชาภรในชุมชนและ ชุมชนสามารถนำแผนที่การใช้ประโยชน์ที่ดินและโมเดลไปใช้เพื่อการศึกษาและถ่ายทอดให้ชุมชนเกิดการเรียนรู้แก่สมาชิกในชุมชน และยังสามารถใช้ในภารวิเคราะห์ปัญหาของชุมชนด้านนิเวศและเศรษฐกิจเพื่อกำหนดทิศทางในภารพัฒนาป่าชุมชนต่อไป

การศึกษาและถ่ายทอดองค์ความรู้